หลักสูตรการใช้โปรแกรม PSPP สำหรับงานวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ

 |  Written by ocsc19  |  0

การใช้โปรแกรม PSPP สำหรับงานวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ

ภาพรวมของหลักสูตร

ศึกษาการใช้โปรแกรม PSPP สำหรับงานวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เริ่มตั้งแต่การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติในระดับเชิงพรรณนา (Description Statistics) จนถึงการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติเชิงอนุมาน (InferentialStatistics) อันประกอบไปด้วย การวิเคราะห์ค่ากลาง การวิเคราะห์ค่าความแตกต่าง การกำหนดและการทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing) แบบต่างๆ การประมาณค่าความเชื่อมั่น การวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA)แบบปัจจัยเดียวและสองปัจจัย การวิเคราะห์ความถดถอย (Regression Analysis) ตลอดจนประเด็นการวิเคราะห์วิจัยทางสถิติที่เกี่ยวข้อง

ระยะเวลาการฝึกอบรม

  • 18 ชั่วโมง (อบรมวันที่ 30 พฤศจิกายน – 2 ธันวาคม 2558)

จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม

  • จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม 40 คน

ความรู้พื้นฐานของผู้อบรม

  • Microsoft Windows XP

ประโยชน์ที่ผู้อบรมจะได้รับ

  • เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถออกแบบแบบสอบถาม แปลข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม ตลอดจนออกแบบการทดลองที่เหมาะสม เพื่อสามารถนาไปวิเคราะห์วิจัยโดยใช้คำสั่งในโปรแกรม PSPP ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
  • เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถใช้โปรแกรม PSPP ในงานวิเคราะห์สถิติในระดับพรรณนาและอนุมานได้
  • เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถอธิบายและแปลผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม PSPP และนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ

ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการฝึกอบรม วันที่ 26 พ.ย. 2558


เนื้อหาหลักสูตร

  • ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยโปรแกรม PSPP
    • การสร้างแฟ้มข้อมูล
    • การตั้งชื่อตัวแปร
    • การกำหนดระดับการวัด2/3
    • ชนิดของตัวแปร
    • การกำหนด Label
    • การกำหนดค่าข้อมูลสูญหาย
    • การกำหนดความกว้างของ Column
    • การบันทึกแฟ้มข้อมูล
    • การบันทึกแฟ้มข้อมูลที่สร้างใหม่
    • การบันทึกแฟ้มข้อมูลที่เคยบันทึกแล้ว
    • การอ่านข้อมูลในกระดาษทาการ PSPP
    • การอ่านข้อมูลจากแฟ้มที่สร้างโดยโปรแกรมอื่นๆ
  • สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
    • ​การแสดงค่าสถิติเชิงพรรณนาแยกตามชนิดตัวแปร
    • สูตรที่ใช้ในการคำนวณค่าสถิติต่างๆของข้อมูลเชิงปริมาณ
    • สถิติที่ใช้วัดค่ากลางของข้อมูลเชิงปริมาณ
    • สถิติที่ใช้ในการวัดการกระจายของข้อมูลเชิงปริมาณ
    • ลักษณะของเส้นโค้งความถี่
    • สถิติที่ใช้ในการสรุปข้อมูลเชิงกลุ่ม
    • การสร้างตารางแจกแจงความถี่แบบจำแนกทางเดียวด้วยคาสั่ง Frequencies
    • การสร้างตารางแจกแจงความถี่ด้วยคำสั่ง Basic Tables
    • การสร้างตารางแจกแจงความถี่ด้วยคำสั่ง General Tables
    • การใช้คำสั่ง Basic Tables สร้างตารางแจกแจงความถี่แบบ 2 ทาง
    • สถิติสาหรับข้อมูลเชิงปริมาณ
  • การประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน (Estimation and Hypothesis Testing)
    • ​ความหมายและหลักการของการประมาณค่า
    • การประมาณค่าเฉลี่ยประชากรแบบช่วง
    • การประมาณค่าผลต่างระหว่างค่าเฉลี่ย 2 ประชากร
    • ความหมาย และหลักการของการทดสอบสมมติฐาน
    • เงื่อนไขของการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ
    • ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ 3/3
    • หลักเกณฑ์การปฏิเสธหรือยอมรับสมมติฐาน Ho
    • การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยประชากร
    • คำสั่งและผลลัพธ์ของ PSPP สาหรับการทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
    • การทดสอบสมมติฐานของผลต่างระหว่างค่าเฉลี่ย 2 ประชากร
    • การทดสอบสมมติฐานของผลต่างระหว่างค่าเฉลี่ย 2 ประชากรเมื่อสุ่มตัวอย่างจากแต่ละประชากรอย่างเป็นอิสระกัน
    • เมื่อไม่ทราบค่าแปรปรวนของประชากรทั้งสองทราบเพียงแต่มีค่าไม่เท่ากัน
    • เมื่อไม่ทราบค่าแปรปรวนของประชากรทั้งสองทราบเพียงแต่ว่าเท่ากัน
    • คำสั่งและตัวอย่างของการใช้ PSPP สาหรับทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย 2 ประชากร
    • การทดสอบสมมติฐานของผลต่างระหว่างค่าเฉลี่ย 2 ประชากรแบบจับคู่
    • การสร้างตัวแปรสาหรับทดสอบแบบจับคู่ของ PSPP
  • การวิเคราะห์ของแปรปรวน (Analysis of Variance : ANOVA)
    • ​หลักการของการวิเคราะห์ความแปรปรวน
    • การสร้างตารางการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว
    • การเปรียบเทียบเชิงซ้อน
    • ชนิดของการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว
  • การวิเคราะห์ความถดถอยอย่างง่าย (Simple Linear Regression Analysis)
    • ​การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย
    • การทดสอบความเหมาะสมของสมการความถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย
    • สัมประสิทธิ์การตัดสินใจ
    • การตรวจสอบเงื่อนไขของการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงเส้น
    • การตรวจสอบค่าเฉลี่ยของค่าคลาดเคลื่อน
    • การตรวจสอบค่าความแปรปรวนของค่าคลาดเคลื่อน
    • การตรวจสอบความเป็นอิสระกันของค่าคลาดเคลื่อน
    • การใช้คำสั่งของ PSPP for Windows ในการวิเคราะห์ความถดถอย
  • การทางานร่วมกันระหว่างโปรแกรม PSPP และ SPSS และ Microsoft Excel
    • ​​การนำเข้าและส่งออกไฟล์ข้อมูล ข้ามระหว่างโปรแกรม PSPP และ SPSS และ Microsoft Excel
    • เทคนิคการส่งออกไฟล์ PSPP เป็น PDF และ ไฟล์เอกสารในชุดโอเพ่นซอร์ส

เอกสารแนบ


ปีงบประมาณ: 
2559
วันฝึกอบรม: 
30/11/2015 - 09:00
วันสิ้นสุดการอบรม: 
02/12/2015 - 16:00
เริ่มลงทะเบียน: 
17/11/2015 - 09:00
หมดเขตลงทะเบียน: 
25/11/2015 - 18:00
จำกัดจำนวน: 
40 ที่นั่ง
กลุ่มหลักสูตร: 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สถานที่ฝึกอบรม: 
ณ ห้องอบรมคอมพิวเตอร์ อาคาร 8 ชั้น 1
ผู้ประสานงานหลักสูตร: 
คุณพิมลพรรณ